๒. การแปรเป็นพระธาตุจากเส้นเกศา
เส้นเกศาของพระอริยเจ้ามีการแปรเป็นพระธาตุแยกเป็น ๔ ลักษณะ
ลักษณะการแปรสภาพแบบที่ ๑ รวมกันทั้งกระจุก |
|
|
ระยะที่ ๑
เส้นเกศากระจายตัว ไม่รวมกัน
(เส้นเกศาหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่)
|
ระยะที่ ๒
เิกิดมีเส้นใยจับตัวกันกลมมนแน่น
(เส้นเกศาหลวงปู่ครูบาบุญปั๋น ธมฺมปญฺโญ วัดร่องขุ้ม เชียงใหม่)
|
ระยะที่ ๓
เส้นใยที่เกิดขึ้นเกี่ยวพันกันแน่นและผสานเส้นเกศาเป็นเนื้อเดียวกัน
เมื่อมองอย่างเผินๆ จะมีลักษณะคล้ายสบู่ติด
(เส้นเกศาหลวงปู่บุญจันทร์ จนฺทวโร วัดถ้ำผาผึ้ง เชียงใหม่)
|
ระยะที่ ๔
รวมตัวกันจนเป็นพระธาตุโดยสมบูรณ์
มีลักษณะกลมมน มีทั้งสีขาว สีใส หรืออื่น ๆ
(พระธาตุหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่)
|
|
|
ลักษณะการแปรสภาพแบบที่ ๒ รวมตัวกันเป็นบางส่วน
|
ระยะที่ ๑
เส้นเกศารวมตัวกันเป็นก้อน
มีบางส่วนเกิดเส้นใยเกี่ยวพันกัน
(เส้นเกศาหลวงปู่มหาโส กสฺสโป วัดป่าคำแคนเหนือ ขอนแก่น)
|
ระยะที่ ๒
เส้นเกศาสานกันเป็นแพ โดยมีเส้นใยเกี่ยวพันแน่นยิ่งขึ้น
(เส้นเกศาหลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่)
|
ระยะที่ ๓
บริเวณที่เส้นเกศาสานกันรวมตัวเป็นพระธาตุ
มีลักษณะใส่ประดุชเพชร แต่ยังติดอยู่กับเส้นเกศา ดึงไม่ออก
(พระธาตุเกศาหลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่)
|
ระยะที่ ๔
พระธาตุเหล่านั้นหลุดออกจากเส้นเกศาแล้ว
เป็นพระธาุตสมบูรณ์
(พระธาตเกศาหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่)
|
ลักษณะการแปรสภาพแบบที่ ๓ เป็นธาตุ ๑ เส้นต่อ ๑ องค์
|
ระยะีที่ ๑
เส้นเกศาธรรมดา
(เส้นเกศาหลวงปู่พวง สุวีโร วัดป่าปูลูสันติวัฒนา อุดรธานี)
|
ระยะที่ ๒
เิกิดมีพระธาตุผุดขึ้นตรงปลายของเส้นเกศา
(เส้นเกศาหลวงปู่พวง สุวีโร วัดป่าปูลูสันติวัฒนา อุดรธานี)
|
ระยะที่ ๓
ส่วนที่ผุดขึ้นนั้นจะหลุดออกมาจากเส้นเกศา
(เส้นเกศาหลวงปู่พวง สุวีโร วัดป่าปูลูสันติวัฒนา อุดรธานี)
|
ระยะที่ ๔
เป็นพระธาตุสมบูรณ์ ที่เมื่อขยายดูรายละเอียดแล้ว
จะมีรอยเส้นสีดำ
อยู่ภายใน
(เส้นเกศาหลวงปู่พวง สุวีโร วัดป่าปูลูสันติวัฒนา อุดรธานี)
|
ลักษณะการแปรแบบที่ ๔ เกร็ดพระธาตุเสด็จมาประทับอยู่ด้วย
พระธาตุที่เสด็จมาประทับร่วมกับเส้นเกศาหลวงตามหาบัว ญาณสมฺปนฺโน วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี
เกิดมีเกร็ดพระธาตุเสด็จมาประทับอยู่กับเส้นเกศาของพระอริยะเจ้า เมื่อผู้บูชาประกอบความเพียรในการปฏิบัติบูชา
|
|
|
|
|
|
|