๑. การแปรเป็นพระธาตุจากอัฐิ
อัฐิตามธรรมชาติ แปรเป็นพระธาตุแยกเป็น ๔ ลักษณะ
ลักษณะการแปรสภาพแบบที่ ๑ จากอัฐิที่เป็นฟอง |
|
|
ระยะที่ ๑
อัฐิที่มีลักษณะเป็นฟอง เป็นรูพรุน
(อัฐิหลวงปู่แว่น ธนปาโล วัดถ้ำพระสบาย จ.ลำปาง) |
ระยะที่ ๒
ฟองอัฐิเริ่มหดตัว ฟองอัฐิบางส่วนจะยังคงสภาพอยู่
(อัฐิธาตุหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม วัดอรัญญวิเวก จ.นครพนม)
|
ระยะที่ ๓
รวมตัวเข้าเป็นผลึก ส่วนที่เห็นเป็นฟองอัฐิจะน้อยลง
ส่วนที่เป็นผลึกหินปูนจะมากขึ้น ลักษณะเริ่มมน
(อัฐิธาตุหลวงปู่เทสก์ เทสฺรํสี วัดหินหมากเป็ง จ.หนองคาย) |
ระยะที่ ๔
เป็นพระธาตุโดยสมบูรณ์ สัณฐานกลมรี เมล็ดมีข้าวโพด เห็นส่วนฟองอัฐิติดเพียงเล็กน้อย
(พระธาตุหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล วัดเลียบ จ.อุบลราชธานี) |
|
|
ลักษณะการแปรสภาพแบบที่ ๒ จากอัฐิที่เป็นชิ้นยาว
|
ระยะที่ ๑
อัฐิที่เป็นชิ้นยาวแนว
เยื่ออัฐิที่เห็นเป็นเส้นบางๆ
(อัฐิพระนพีสีพิศาลคุณ วัดสันติธรรม เชียงใหม่)
|
ระยะที่ ๒
ต่อไปจะแปรเปลี่ยนเป็นพระธาตุตามแนวเส้น
จะเกิดผลึกขยายขึ้นจนเต็มองค์อัฐิเดิม
(อัฐิธาตุหลวงตาคำดี ปญฺโญภาโส วัดป่าสุทธาวาส สกลนคร)
|
ระยะที่ ๓
สภาพใกล้เป็นพระธาตุมากขึ้น เยื่ออัฐิที่เกาะเป็นผลึกหินปูนจนเกือบเต็มรูพรุนกระดูก จะขยายตื้นขึ้นเห็นส่วนอัฐิเหลือเพียงประมาณ ๑๐-๒๐%
(อัฐิหลวงปู่หล้า เขมปตฺโต วัดภูจ้อก้อ มุกดาหาร)
|
ระยะที่ ๔
เป็นพระธาตุโดยสมบูรณ์พระธาตุลักษณะนี้
มักจะคงรูป
ตามลักษณะของชิ้นอัฐิที่แปรสภาพ
(พระธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต วัดป่าสุทธาวาส สกลนคร)
|
ลักษณะการแปรสภาพแบบที่ ๓
|
ระยะีที่ ๑
อัฐิธาตุหลังจากเผาแล้วคงสภาพธรรมดา
(อัฐิธาตุท่านพุทธทาส อินฺทปญฺโญ สวนโมกข์ สุราษฎร์ธานี)
|
ระยะที่ ๒
เิกิดมีพระธาตุผุดขึ้นตามผิดอัฐิ
(อัฐิธาตุหลวงปู่ขาน ฐานวโร วัดป่าบ้านเหล่า เชียงราย)
|
ระยะที่ ๓
ส่วนที่ผุดขึ้นนั้นจะหลุดออกมา
(อัฐิธาตุหลวงปู่เข็มทอง วรธมฺโม วัดอัมพวัน นครพนม)
|
ระยะที่ ๔
เป็นพระธาตุโดยสมบูรณ์
(อัฐิธาตุหลวงปู่เข็มทอง วรธมฺโม วัดอัมพวัน นครพนม)
|
ลักษณะการแปรแบบที่ ๔ เกิดพระธาตุขณะฌาปนกิจ
พระธาตุหลวงปู่พวง สุวีโร วัดป่าปูลูสันติวัฒนา อุดรธานี
สภาพศพตามธรรมชาติ เมื่อทำการเผา เกิดวัตถุธาตุส่องแสงเป็นประกายหยดออกมาจากร่างกาย
เมื่อกระทบกับสิ่งที่รองรับก็กลิ้งกระจาย ออกเป็นขนาดต่างๆ กลายเป็นพระธาตุโดยสมบูรณ์
|
|
|
|
|
|
|